Creative Commons
1.Creative Commons (CC) หมายถึง เป็นสัญญาอนุญาตด้านลิขสิทธิ์ที่เป็นรูปแบบทางการ เข้าใจง่ายเป็นสากลทั่วโลก แสดงเป็นสัญลักษณ์ลักษณะต่างๆ โดยจัดทำขึ้นเพื่อให้ผู้สร้างสรรค์งาน สามารถแสดงขอบเขตการอนุญาต ให้ผู้อื่นนำงานของตนไปใช้ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต เพียงแต่ต้องทำตามเงื่อนไขที่ผู้สร้างสรรค์งานกำหนดหรือเรียกว่าเป็นการแสดงที่มาของงานชิ้นนั้นๆ
วัตถุประสงค์
ส่งเสริมแนวคิดวัฒนธรรมเสรีและการใช้สัญญาอนุญาตของครีเอทีฟคอมมอนส์กับงานสร้างสรรค์ ให้ความคิดสร้างสรรค์สามารถเผยแพร่ไหลเวียนและต่อยอดได้โดยเสรี รณรงค์ให้สังคมไทย โดยเฉพาะหน่วยงานภาครัฐและภาคการศึกษา ใช้สัญญาอนุญาตครีเอทีฟคอมมอนส์ที่เหมาะสมกับงานสร้างสรรค์ โดยเฉพาะงานที่เป็นภาษาไทย เกี่ยวกับสังคมไทย หรือเกี่ยวกับการศึกษาของไทย

2. ครีเอทีฟคอมมอนส์ในประเทศไทย
- ดำาเนินงานโดยเครือข่ายครีเอทีฟคอมมอนส์ประเทศไทย
- ต้นปี2552 แปลงสัญญาอนุญาตเป็นฉบับประเทศไทยเสร็จสิ้น•ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ครีเอทีฟคอมมอนส์ผ่านการจัดกิจกรรม(งานเปิดตัว, CC Salon, ออกบูท) ประชาสัมพันธ์และหารือกับหน่วยงานที่มีข้อมูลและกลุ่มเป้าหมายต่างๆเช่นบล็อกเกอร์นักสร้างสรรค์งานศิลปะ
- ผลักดันแนวคิดการสงวนสิทธิ์อย่างสมเหตุสมผลในระดับนโยบายและโครงการภาคสังคมขนาดใหญ่เช่นห้องสมุดดิจิทัล
ของไทย
- เนื้อหาในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งหมดเป็น Creative Commons
- งานวิจัยทั้งหมดบนเว็บของ TDRI (สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย)
- ผู้ให้บริการบล็อก GotoKnow เพิ่มตัวเลือกให้ผู้เขียนบล็อกสามารถบอกว่าเนื้อหาในบล็อกของตัวเองเป็น CCได้ ถ้าเข้าไปดูใน G2K ตอนนี้จะมีโลโก้ CC เต็มไปหมด (Exteen กับ Diaryis ก็รีบๆ นะครับ กดดันออกอากาศเลย)
- ผลงานของกลุ่มคนทำหนังสั้นและสื่ออิสระ บนเว็บไซต์ Fuse.in.th ในเครือ Bioscope
- นิตยสารออนไลน์ OnOpen (หมายเหตุ: ผมไปเขียนคอลัมน์ให้เขาด้วย พื้นที่โฆษณา)
- Joys Magazine วารสารออนไลน์ด้านเกม การ์ตูน และไลฟ์สไตล์
- บล็อกของ phuphu บล็อกเกอร์คนดัง Exteen
- ต้นปี2552 แปลงสัญญาอนุญาตเป็นฉบับประเทศไทยเสร็จสิ้น•ส่งเสริมสนับสนุนการใช้ครีเอทีฟคอมมอนส์ผ่านการจัดกิจกรรม(งานเปิดตัว, CC Salon, ออกบูท) ประชาสัมพันธ์และหารือกับหน่วยงานที่มีข้อมูลและกลุ่มเป้าหมายต่างๆเช่นบล็อกเกอร์นักสร้างสรรค์งานศิลปะ
- ผลักดันแนวคิดการสงวนสิทธิ์อย่างสมเหตุสมผลในระดับนโยบายและโครงการภาคสังคมขนาดใหญ่เช่นห้องสมุดดิจิทัล
ของไทย
- เนื้อหาในเว็บไซต์ของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ทั้งหมดเป็น Creative Commons
- งานวิจัยทั้งหมดบนเว็บของ TDRI (สถาบันวิจัยเพื่อพัฒนาประเทศไทย)
- ผู้ให้บริการบล็อก GotoKnow เพิ่มตัวเลือกให้ผู้เขียนบล็อกสามารถบอกว่าเนื้อหาในบล็อกของตัวเองเป็น CCได้ ถ้าเข้าไปดูใน G2K ตอนนี้จะมีโลโก้ CC เต็มไปหมด (Exteen กับ Diaryis ก็รีบๆ นะครับ กดดันออกอากาศเลย)
- ผลงานของกลุ่มคนทำหนังสั้นและสื่ออิสระ บนเว็บไซต์ Fuse.in.th ในเครือ Bioscope
- นิตยสารออนไลน์ OnOpen (หมายเหตุ: ผมไปเขียนคอลัมน์ให้เขาด้วย พื้นที่โฆษณา)
- Joys Magazine วารสารออนไลน์ด้านเกม การ์ตูน และไลฟ์สไตล์
- บล็อกของ phuphu บล็อกเกอร์คนดัง Exteen
3.สัญลักษณ์ Creative Commons

คุณต้องแสดงที่มาของงานดังกล่าวตามรูปแบบที่ผู้สร้างสรรค์หรือผู้อนุญาตกำหนด (แต่ไม่ใช่ในลักษณะที่ว่าพวกเขาสนับสนุนคุณหรือสนับสนุนการที่คุณนำงานไปใช้) .

คุณไม่อาจใช้งานนี้เพื่อวัตถุประสงค์ทางการค้า .

คุณไม่อาจแก้ไขเปลี่ยนแปลงหรือสร้างงานของคุณจากงานนี้ .

หากคุณดัดแปลง เปลี่ยนรูป หรือต่อเติมงานนี้คุณต้องใช้สัญญาอนุญาตแบบเดียวกัน หรือแบบที่เหมือนกับหรือที่เข้ากันได้กับสัญญาอนุญาตที่ใช้กับงานนี้เท่านั้น .
ทั้งนี้สัญลักษณ์ดังกล่าวสามารถนำมาใช้ร่วมกันเช่น


4.การสร้างไฟล์ Creative Commons
สร้างไฟล์ภาพสำหรับเว็บด้วย Paint- โปรแกรม Paint เป็นโปรแกรมมาตรฐานของ Windows ทุกรุ่น โดยเฉพาะ Windows 98 เป็นต้นไป ได้เพิ่มความสามารถในการจัดเก็บไฟล์ (Save) ในฟอร์แมต .GIF และ .JPG ดังนั้นจึงเป็นทางเลือกที่สะดวกในการสร้างไฟล์กราฟิกสำหรับเว็บแบบง่ายๆ และรวดเร็ว โดยมีตัวอย่างการสร้างงานดังนี้
เปิดโปรแกรมที่ต้องการนำภาพมาใช้งาน เช่น Microsoft Word, Excel หรือ PowerPoint
ปรับแต่งรูปภาพตามต้องการ เช่น ย่อขนาด

- คลิกเลือกภาพ แล้วเลือกเมนูคำสั่ง Edit, Copy (แก้ไข, คัดลอก) เพื่อบันทึกรูปภาพไว้ในหน่วยความจำ
เรียกใช้โปรแกรม Paint โดยคลิกปุ่ม Start จากแถบสั่งงาน แล้วเลือกรายการ Program, Accessories, Paint
เมื่อปรากฏหน้าจอโปรแกรม Paint ให้ใช้เมนูคำสั่ง Image, Attribute เพื่อตั้งค่าพื้นที่ทำงานให้มีขนาดเล็ก เช่นขนาด 100 x 100 Pixels

- จากนั้นเลือกเมนูคำสั่ง Edit, Paste เพื่อวางภาพลงในโปรแกรม ถ้าโปรแกรมปรากฏหน้าต่างสอบถามการวาง ให้คลิกปุ่ม Yes

จากนั้นเลือกเมนูคำสั่ง File, Save (หรือ File, Save As..) ตั้งชื่อไฟล์, ไดร์ฟ และเลือกรูปแบบของภาพเป็น .GIF หรือ .JPG ตามที่ต้องการ

เว็บที่ใช้ Creative Commons
ที่มา : http://www.dlo.co.th/node/200